เมื่อปี พ. ศ. 2497
ที่ กรุงโตเกียว ประเทศ ญี่ปุ่น
ภาพยนตร์เรื่อง “สันติ – วีณา” สร้างโดย หนุมานภาพยนตร์
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลถ่ายภาพยอดเยี่ยม ได้แก่ “รัตน์ เปสตันยี”
รางวัลด้านการกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม ได้แก่ “อุไร ศิริสมบัติ”
รางวัลพิเศษจากสมาคมผู้อำนวยการสร้างอเมริกา ที่สามารถแสดงออก ซึ่งวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม ของชาวตะวันออกให้ชาวตะวันตก ได้เข้าใจ
การประกวดครั้งที่ 15
เมื่อปี พ. ศ. 2512
ที่ กรุงมนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
ภาพยนตร์เรื่อง “ละครเร่” สร้างโดย “อัศวินภาพยนตร์”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลชมเชยกำกับศิลป์ยอดเยี่ยม ได้แก่ “อุไร ศิริสมบัติ” และ “เฉลิม พันธุ์นิล”
การประกวดครั้งที่ 19
เมื่อปี พ. ศ. 2516
ที่ ประเทศสิงคโปร์
ภาพยนตร์เรื่อง “ชู้”สร้างโดย “เปี๊ยก โปสเตอร์”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาแปลกแหวกแนว
ภาพยนตร์เรื่อง “รสสวาท”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลดารานำหญิงยอดเยี่ยม ได้แก่ “ปริม ประภาพร”
การประกวดครั้งที่ 20
เมื่อปี พ. ศ. 2517
ที่ กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน
ภาพยนตร์เรื่อง “ไม่มีสวรรค์สำหรับคุณ”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลภาพยนตร์ที่แสดงออกทางคุณค่าของสังคมดีเด่น
ภาพยนตร์เรื่อง “สาวสิบเจ็ด”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลดาราดาวรุ่งที่แสดงได้เหมาะสม ได้แก่ “วันดี ศรีตรัง”
ภาพยนตร์เรื่อง “ทอง” สร้างโดย บางกอกการภาพยนตร์
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลภาพยนตร์ที่ให้ความบันเทิงยอดเยี่ยม
รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายชายดีเด่น ได้แก่ “กรุง ศรีวิไล”
ภาพยนตร์เรื่อง “ตลาดอารมณ์” ของไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลภาพยนตร์ที่ถ่ายทำและล้างฟิล์มสีในประเทศได้สวยงดงาม
รางวัลพิเศษจากสมาคมผู้เขียนบทภาพยนตร์ ในฐานะที่แสดงได้ยอดเยี่ยม ได้แก่ “อรัญญา นามวงศ์”
การประกวดครั้งที่ 23
เมื่อปี พ. ศ. 2520
ที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย
ภาพยนตร์เรื่อง “ทองพูนโคกโพราษฎร์เต็มขั้น”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม ได้แก่ “วิยะดา อุมารินทร์”
ภาพยนตร์เรื่อง “รสสวาท”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลดารานำหญิงยอดเยี่ยม ได้แก่ “ปริม ประภาพร”
การประกวดครั้งที่ 26
เมื่อปี พ. ศ. 2523
ที่ ประเทศอินโดนีเซีย
ภาพยนตร์เรื่อง “อุกาฟ้าเหลือง” ของ ม. จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลดาราประกอบชายยอดเยี่ยม ได้แก่ “ส. อาสนจินดา”
รางวัลดาราดีเด่นหญิงยอดเยี่ยม ได้แก่ “อรวรรณ เชื้อทอง”
รางวัลภาพยนตร์อนุรักษ์ธรรมชาติดีเด่น
ภาพยนตร์เรื่อง “พรุ่งนี้ฉันจะรักคุณ”
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลดาราดาวรุ่งฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม ได้แก่ “อำภา ภูษิต”
ภาพยนตร์เรื่อง “เทพเจ้าบ้านบางปูน” ของ สหมงคล ฟิล์ม
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลดีเด่นเสริมสร้างความดีงามแก่สังคม
การประกวดครั้งที่ 36
เมื่อปี พ. ศ. 2534
ที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน
ภาพยนตร์เรื่อง “กระโหลกบางตายช้า กระโหลกหนาตายก่อน“
รางวัลที่ได้รับ
รางวัลพิเศษภาพยนตร์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ (Special Award For Stylistic Integrity)